- การบริหารโครงการซอฟต์แวร์ ให้ความสำคัญกับสิ่งใดบ้าง?
- กิจกรรมที่ทำให้แน่ใจว่า สามารถส่งมอบซอฟต์แวร์ได้ตามกำหนด
- ซอฟต์แวร์นั้นเป็นไปตามข้อกำหนดของลูกค้า
- ความพึงพอใจ/ยอมรับซอฟต์แวร์ ทั้งจากผู้ใช้และผู้พัฒนาซอฟต์แวร์
- การบริหารโครงการซอฟต์แวร์ มีความสำคัญมาก เนื่องจาก
- การพัฒนาซอฟต์แวร์ มีเรื่องค่าใช้จ่ายและกำหนดเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง
- เป็นหน้าที่ของผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ต้องดำเนินการ (ลูกค้าไม่รู้เรื่องด้วย)
- การส่งมอบซอฟต์แวร์ ตามเวลาที่กำหนด
- การควบคุมค่าใช้จ่ายให้อยู่ในงบประมาณที่กำหนด
- การส่งมอบซอฟต์แวร์ที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้
- การรักษาสัมพันธภาพและบรรยากาศที่ดี ในทีมงานพัฒนาซอฟต์แวร์
- ซอฟต์แวร์ ไม่มีตัวตน (intangible)
- ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งไม่สามารถมองเห็นหรือจับต้องได้
- ผู้บริหารโครงการไม่สามารถมองเห็นความคืบหน้าในการพัฒนา ถึงจะมีเอกสารกองโตวางตรงอยู่หน้า
- ซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ มักจะมีเพียงหนึ่งเดียว
- ถึงจะมีซอฟต์แวร์ที่คล้ายๆ กัน แต่ก็มีส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งมีความยากบางอย่างอยู่ในนั้น
- ถึงแม้ผู้บริหารโครงการจะมีประสบการณ์มากเพียงใด แต่ก็ยังต้องเผชิญปัญหาที่แก้ไขยากในโครงการใหม่เสมอ ความท้าทายในการบริหารโครงการซอฟต์แวร์ (2)
- กระบวนการพัฒน์แวร์ มีความแตกต่างและหลากหลาย ตามชนิดและองค์กรพัฒนาซอฟต์แวร์
- เราไม่สามารถพยากรณ์ได้ว่าจะใช้กระบวนการใดกับซอฟต์แวร์ชนิดใด (รวมทั้งกับทีมงานที่มีอยู่) เพื่อให้เกิดความเสี่ยงน้อยที่สุด
- การนำประสบการณ์จากโครงการเดิมมาใช้ อาจสร้างจุดอ่อนใหม่ๆ ขึ้นมาก็เป็นได้
- ขนาดของบริษัทพัฒนาซอฟต์แวร์
- กลุ่มลูกค้า หรือ ลูกค้า
- ขนาดซอฟต์แวร์
- ชนิดของซอฟต์แวร์
- วัฒนธรรมองค์กร (ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์)
- ผู้บริหารโครงการที่ประสบความสำเร็จจากองค์กรหนึ่ง อาจประสบความล้มเหลวในการบริหารโครงการในอีกองค์กรหนึ่ง
- Project planning
- ประมาณการงบประมาณ, วางแผนงาน, จัดกำลังคน
- Risk management
- ประเมินความเสี่ยง, สอดส่องดูแล, รับมือและแก้ไขปัญหา
- People management
- เลือกคนและจัดทีม, หาแนวทางที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
- Reporting (การเขียนรายงาน)
- ผู้บริหารโครงการ มีหน้าที่เขียนรายงานความก้าวหน้า เพื่อเสนอต่อ ลูกค้า และ บริหารของบริษัท
- Proposal writing
- ทุกโครงการ ต้องเริ่มจากการเขียน proposal (เอกสารข้อเสนอ) เพื่อใช้เป็นภาพร่างของงาน Proposal ไม่ใช่เอกสารที่ได้จากการออกแบบซอฟต์แวร์